เว็บน่ารู้กับเสาวลักษณ์

Author Archive

gdghgf

 

 

 

 

 

 

ชื่อ นางสาวเสาวลักษณ์    ศรีหาชัย
วันเกิด  25  1มิถุนายน  พ.ศ  2536
ที่อยู่ 242  ม. 1  ต.นางัว  อ.น้ำโสม  จ. อุดรธานี

รายละเอียดเว็บไซต์
มีเนื้อหาหลายเรื่องราวที่รวบรวมมาเพื่อไห้ความรู้
ประกอบด้วย
กำเนิดอาเซียน
กฎบัตฺอาเซียน
สัญลักษณ์อาเซียน
กำเนิด หมีพู
ตำนานดอกกุหลาบ
สีกุหลาบสื่อความหมาย
จำนวนดอกกุหลาบสื่อความหมาย
เพลงชาติลาว
เพลงชาติเวียดนาม
เพลงชาติมาเลเซีย
the asean  way
hello  word !

ผลงานการตัดต่อโฆษณา

 

 

 

นักแสดงสวยมากช่วยเข้ามาคลิกไห้กำลังใจหน่อยนะคะ

 

 

 

ชื่อ นางสาวเสาวลักษณ์    ศรีหาชัย
วันเกิด 25  มิถุนายน  พ.ศ.2536
ที่อยู่ 242 ม.1 ต.นางัว อ.น้ำโสม  จ.อุดรธานี

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

สัญลักษณ์ของอาเซียน 

 คือ รูปรวงข้าว สีเหลืองบนพื้นสีแดงล้อมรอบด้วยวงกลม สีขาวและสีน้ำเงิน

รวงข้าว 10 ต้น หมายถึง ประเทศสมาชิก 10 ประเทศ

สีเหลือง หมายถึง   ความเจริญรุ่งเรือง 

สีแดง    หมายถึง  ความกล้าหาญและการมีพลวัติ

สีขาว    หมายถึง  ความบริสุทธิ์ 

สีน้ำเงิน· หมายถึง··สันติภาพและความมั่นคง

กำเนิดอาเซียน

       อาเซียน หรือ สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (Association of South East AsianNations หรือ ASEAN) ก่อตั้งขึ้นโดยปฏิญญากรุงเทพ (Bangkok Declaration) ซึ่งได้มีการลงนามที่วังสราญรมย์ เมื่อวันที่ 8 สิงหาคม พ.ศ. 2510 โดยรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศสมาชิกก่อตั้ง 5 ประเทศ ได้แก่อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์ มาเลเซีย สิงคโปร์ และไทย ซึ่งผู้แทนทั้ง 5 ประเทศ ประกอบด้วยนายอาดัม มาลิก (รัฐมนตรีต่างประเทศอินโดนีเซีย) ตุน อับดุล ราชัก บิน ฮุสเซน (รองนายกรัฐมนตรี รัฐมนตรีกลาโหมและรัฐมนตรีกระทรวงพัฒนาการแห่งชาติมาเลเซีย) นายนาซิโซ รามอส (รัฐมนตรีต่างประเทศฟิลิปปินส์) นายเอส ราชารัตนัม (รัฐมนตรีต่างประเทศสิงค์โปร์) และพันเอก (พิเศษ) ถนัด คอมันตร์ (รัฐมนตรีต่างประเทศไทย)

        ในเวลาต่อมาได้มีประเทศต่างๆ เข้าเป็นสมาชิกเพิ่มเติม ได้แก่ บรูไนดารุสซาลาม (เป็นสมาชิกเมื่อ 8 ม.ค.2527) เวียดนาม (วันที่ 28 ก.ค. 2538) สปป.ลาว พม่า (วันที่ 23 ก.ค. 2540) และ กัมพูชา เข้าเป็นสมาชิกล่าสุด (วันที่ 30 เม.ย. 2542) ทำให้ปัจจุบันมีสมาชิกอาเซียนทั้งหมด 10 ประเทศ

        วัตถุประสงค์ของการก่อตั้งอาเซียน คือ เพื่อส่งเสริมความเข้าใจอันดีต่อกันระหว่างประเทศในภูมิภาค ธำรงไว้ซึ่งสันติภาพ เสถียรภาพ และความมั่นคงทางการเมือง สร้างสรรค์ความเจริญก้าวหน้าทางด้านเศรษฐกิจ การพัฒนาทางสังคมและวัฒนธรรม การกินดีอยู่ดีของประชาชนบนพื้นฐานของความเสมอภาคและผลประโยชน์ร่วมกันของประเทศสมาชิก


หมวดหมู่